วันนี้เรียนพิเศษสังคม อาจารย์บอกว่ามีคนรวยกว่าบิล เกตส์แล้ว
หน้าตาเป็นเช่นนี้แลฯ
***************************
เศรษฐีเม็กซิกันรวยแซงบิล เกตส์-เหตุหุ้น พุ่ง
.
มหาเศรษฐี “บิล เกตส์” เจ้าของและผู้ร่วม ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ บุคคลร่ำรวยที่สุดของโลก ครอบครองทรัพย์สินอยู่ ราว 56,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ถูกนายคาร์ลอส สลิม เฮ ลู ชาวเม็กซิกัน วัย 67 ปี มหาเศรษฐีเจ้าของธุรกิจการสื่อสาร บริษัทการ เงิน บริษัทอุตสาหกรรม และธุรกิจอีกหลายชนิด ช่วงชิงตำแหน่งความรวย มี ทรัพย์สิน แซงหน้านายบิล เกตส์ ราว 9,000 ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ เหตุเพราะราคาหุ้น บริษัทสื่อสารช่วงไตรมาสที่ 2 ของ ปีนี้ พุ่งขึ้นถึง 26.5 เปอร์เซ็นต์
.
.
เหตุผลหนึ่งที่ทรัพย์สินของนายสลิมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะนายสลิมยัง ทำหน้าที่บริหารธุรกิจของตัวเอง โดยเฉพาะบริษัทสื่อสาร “อเมริกัน โมวิล” ซึ่ง ครองตลาดการใช้โทรศัพท์ในภูมิภาคละตินอเมริกาถึง 33 เปอร์เซ็นต์ นอกเหนือจากการ ทำธุรกิจกลุ่มบริษัทการเงิน “อินเบอร์ซา” ธุรกิจกลุ่มอุตสาหกรรม “กรูโป คา ร์โซ” ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจร้านขายกาแฟและร้านอาหาร ขณะที่นายบิล เกตส์ เริ่ม วางมือจาก การบริหารบริษัทไมโครซอฟท์มาตั้งแต่ปี 2543 โดยหันมามุ่งงานด้าน มูลนิธิร่วมกับภรรยาคือนาง “เมลินดา”
.
.
นายสลิมเป็นลูกชายผู้อพยพชาวเลบานอน ครอบครัวประกอบธุรกิจมาตลอด ช่วยพ่อ ดำเนินกิจการร้านค้ามาตั้งแต่เด็กๆจนเรียนจบคณะวิศวกรรมศาสตร์จากมหาวิทยาลัยใน เม็กซิโก จากนั้นเริ่มซื้อ เล่นหุ้น แต่ต้องเผชิญสภาพวิกฤติเศรษฐกิจภูมิภาคละติ นอเมริกาเมื่อช่วงต้นทศวรรษ 1980 จึงได้ปฏิรูปธุรกิจของตัวเองในนามกลุ่ม “กรู โป คาร์โซ” จนประสบความสำเร็จและทุ่มทุน 1,800 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซื้อหุ้น บริษัท “เทเลโฟโนส เดอ เม็กซิโก หรือเทเลเม็กซ์” เมื่อปี 2533 ภายหลังรัฐบาล เปลี่ยนนโยบายแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
.
.
ข่าวแจ้งว่า แม้นายสลิมร่ำรวยมีทรัพย์สินมหาศาล แต่ก็พยายามหลีกเลี่ยงการ เข้าสังคมคนชั้นสูง ไม่นิยมทำตัวโอ่อ่าฟุ่มเฟือย ยังสวมนาฬิกาข้อมือพลาสติกอยู่ จนถึงช่วงทศวรรษ 1990
อย่างไรก็ดี นายสลิมต่างก็ให้ความสำคัญกับมูลนิธิการกุศลเช่นเดียวกับนายบิล เกตส์ โดยเพิ่งร่วมก่อตั้งมูลนิธิช่วยเหลือแก้ปัญหาความยากจนในภูมิภาคละตินอเม ริกากับอดีตประธานาธิบดี บิล คลินตัน แห่งสหรัฐฯ กับนักธุรกิจเหมืองแร่ชาว แคนาดา.
อย่างไรก็ดี นายสลิมต่างก็ให้ความสำคัญกับมูลนิธิการกุศลเช่นเดียวกับนายบิล เกตส์ โดยเพิ่งร่วมก่อตั้งมูลนิธิช่วยเหลือแก้ปัญหาความยากจนในภูมิภาคละตินอเม ริกากับอดีตประธานาธิบดี บิล คลินตัน แห่งสหรัฐฯ กับนักธุรกิจเหมืองแร่ชาว แคนาดา.
.
Carlos Slim Helú
.
Carlos Slim Helú Aglamaz est un homme d'affaires mexicain de parents d'origine libanaise né le 28 janvier 1940 à Mexico. Il est l’homme le plus riche de l'Amérique latine, Le magazine américain Forbes, qui publie chaque année le classement des plus grandes fortunes du monde, n'a pas confirmé l'information.
Sa fortune, en 2007, est estimée par Forbes à 53.1 milliards de dollars à fin du premier trimestre 2007. Elle est estimée par le site internet mexicain Sentido Comun à plus de 67,8 milliards de dollars à fin juin 2007.
Sa fortune, en 2007, est estimée par Forbes à 53.1 milliards de dollars à fin du premier trimestre 2007. Elle est estimée par le site internet mexicain Sentido Comun à plus de 67,8 milliards de dollars à fin juin 2007.
.
Histoire
Son père, Julián Slim Haddad Aglamaz, un Chrétien maronite du Liban, prit la fuite au Mexique en 1902. Julián ouvre une épicerie au nom de « Estrella del oriente » (Étoile de l’Orient) en 1911. Il investit ses économies dans l’immobilier en plein centre de la ville.
Julián épousa la fille d’un autre homme d’affaire d’origine libanaise, dont il eut six enfants. Carlos en était le 6e.
Son père, Julián Slim Haddad Aglamaz, un Chrétien maronite du Liban, prit la fuite au Mexique en 1902. Julián ouvre une épicerie au nom de « Estrella del oriente » (Étoile de l’Orient) en 1911. Il investit ses économies dans l’immobilier en plein centre de la ville.
Julián épousa la fille d’un autre homme d’affaire d’origine libanaise, dont il eut six enfants. Carlos en était le 6e.
.
Il est ingénieur, diplômé de l'UNAM en 1961. Slim est marié (veuf depuis 1999) et a 6 enfants.
Il monte un consortium en 1990 et rachète la première société de télécommunications du Mexique (Telmex), vendue par l’État lors de la présidence de Carlos Salinas. Le marché des télécommunications au Mexique n’est toujours pas très ouvert à la concurrence. À travers son influence politique, il a réussi à garder Telmex dans une situation de quasi-monopole. Selon le journal New York Times, l’opérateur de téléphonie fixe Telmex, détient une part de marché de 90%, alors que l’opérateur de téléphonie mobile Telcel, également contrôlé par Slim, détient une part de marché de 80%.
Il est ingénieur, diplômé de l'UNAM en 1961. Slim est marié (veuf depuis 1999) et a 6 enfants.
Il monte un consortium en 1990 et rachète la première société de télécommunications du Mexique (Telmex), vendue par l’État lors de la présidence de Carlos Salinas. Le marché des télécommunications au Mexique n’est toujours pas très ouvert à la concurrence. À travers son influence politique, il a réussi à garder Telmex dans une situation de quasi-monopole. Selon le journal New York Times, l’opérateur de téléphonie fixe Telmex, détient une part de marché de 90%, alors que l’opérateur de téléphonie mobile Telcel, également contrôlé par Slim, détient une part de marché de 80%.