.::Umo_Kislira::.

Hello! Everyone **Welcome to my blog!** I hope you like it and please post comment. Thanks for all.>_<

Friday, September 29, 2006

ฮุ ฮุ !
....collection ของหนูเองคร้า...(น่ากลัวมั้ย?)







มีคนบอกว่าหน้าตาน่ากลัวอ่ะ (ไม่จริงเนอะ)

Wednesday, September 27, 2006

Harry Potter et la Coupe de Feu


หึ หึ เมื่อวานพึ่งจะดูแฮร์รี่ รอบที่ 6 เลยเอามาฝากจ้า..... (ฝากใคร?)

C'est la rentrée à Poudlard. Et pas n'importe laquelle, puisque cette année l'école de magie accueille le prestigieux Tournoi des Trois Sorciers, compétition qui réunit les meilleurs apprentis magiciens du monde. Le plus doué remportera la Coupe de Feu. Alors qu'il n'est pas inscrit, Harry a la surprise de se voir qualifier et provoque la jalousie de ses camarades, son meilleur ami le premier. Délaissé de tous, notre jeune héros devra également faire face à son ennemi juré, Lord Voldemort, dont le retour est imminent !

Harry Potter et la Coupe de Feu est un pur bonheur. Bourré d'effets spéciaux, il émerveillera encore une fois les fans du célèbre sorcier crée par la conteuse JK Rowling. C'est aussi la plus drôle des adaptations ciné de la saga. On rit ainsi beaucoup des mésaventures amoureuses d'Harry et de Ron à la recherche d'une cavalière pour le bal de fin d'année !
Gare cependant : le film est interdit en France aux enfants de moins de 12 ans, certaines scènes étant très violentes. Mais pour les fans du livre, ces passages plus «adultes» ne seront pas une surprise. L'histoire commence à devenir plus obscure et terrifiante dans le quatrième tome, celui dans lequel Voldemort apparaît enfin !

Aux parents des petits moldus donc de décider s'ils sont assez grands pour découvrir sur grand écran le visage de «celui-dont-on-ne-doit-pas-prononcer-le-nom». (ภาษาไทยแค่เรียกว่า "คนที่คุณรู้ว่าใคร" ฝรั่งเศสเรียกย๊าว...ยาว)

Friday, September 22, 2006

Notre Dame de Paris
วิกตอร์ อูโก 1802-1885 ผู้ประพันธ์เรื่อง โนเตรอ ดาม เดอ ปารีในปี 1831


การ์ตูนเรื่อง the Hunchback of Notre Dame สร้างโดยวอลท์ ดิสนีย์

นวนิยายเรื่อง “โนเตรอ ดาม เดอ ปารี” (Notre Dame de Paris) เขียนโดย วิกตอร์ อูโก (Victor Hugo) ในปี 1831 เป็นเรื่องราวในศตวรรษที่ 15 กล่าวถึงเอสเมรัลดา (Esméralda) สาวสวยซึ่งเป็นพวกชีตาน (gitane) คือพวกจรจัด โยกย้ายถิ่นฐานไปเรื่อย และพวกนี้จะถูกสังคมมองไปในทางไม่ดี แต่เธอก็ทำให้หัวใจของพระอย่างฟร็อลโล (Frollo) เกิดกิเลส สั่นระรัว พระรูปนี้ชุบเลี้ยงคนพิการหลักค่อมชื่อ กาซีโมโด (Quasimodo) ที่ถูกพ่อแม่ทิ้งตั้งแต่อายุ 4 ขวบเพราะรูปร่างน่าเกลียด กาซีโมโดซึ่งมีหน้าที่คอยตีระฆังโบสก์หลงรักเทิดทูนบูชาเอสเมรัลดา แต่เธอก็ไปหลงรักผู้การหนุ่ม เฟบุส (Phoebus) ซึ่งหมอนี่ก็มีคู่หมั้นอยู่แล้ว คือ เฟลอร์-เดอ-ลิส (Fleur-de-Lys) และก็ไปหลงใหลเอสเมรัลดาด้วย นิยายเรื่องนี้ไม่ใช่เพียงแค่เรื่องราวความรักที่ซีโมโดมีต่อเอสเมรัลดาเท่านั้น แต่เป็นการนำเอาสภาพสังคมในศตวรรษที่ 15 มาตีแผ่ทุกแง่มุม
เห็ดทรุฟฟ์.....เพชรสีดำ.....
เห็ดทรุฟฟ์ (La Truffe) หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า ทรัฟเฟิล (Truffle) เป็นเห็ดที่อยู่ใต้ดิน ผู้คนนำมาปรุงอาหารทำให้มีรสชาติน่ากิน และมีราคาสุดแพง ดังนั้นไม่ใช่คนธรรมดาที่จะกินได้ ต้องเป็นพวกมีฐานะทีเดียว คนฝรั่งเศสให้ฉายาเจ้าเห็ดนี้ว่าเป็นเพชรสีดำ (Diamant Noir) ซึ่งความจริงเห็ดทรุฟฟ์ไม่ได้มีรสชาติโดดเด่นอะไรหรอก แต่เป็นที่คุณสมบัติพิเศษของมันคือ มีกลิ่นหอมเย้ายวน กลิ่นของเห็ดทรุฟฟ์ก็คือกลิ่นแบบชะมด (Musc) ซึ่งกลิ่นนี้มีอำนาจพิเศษไปกระตุ้นอารมณ์ทางเพศให้สัตว์ตัวเมียหรือแม้แต่มนุษย์มีปฏิกิริยาตอบสอนงอยากสูดดม และลิ้มชิมรส ฝรั่งเศสจึงได้นำกลิ่นนี้ไปทำน้ำหอม โดยหวังจะให้ดึงดูดสตรีเพศ และเวลาเขานำเห็ดทรุฟฟ์ไปปรุงอาหารก็มักจะโรยเป็นฝอยๆลงไปเท่านั้น

ตามธรรมดา เห็ดทรุฟฟ์จะเกิดใต้ดินลึกลงไปประมาณ 10-15 เซนติเมตร ตรงบริเวณที่มีรากของต้นไม้บางชนิด เช่น ต้นโอ๊ก เฮเซลนัท ต้นเชอร์รี เป็นต้น เพราะเชื้อราเห็ดชนิดนี้จะเจริญเติบโตได้ดีโดยอาศัยอิงกับรากไม้ไม่กี่ชนิด มันเกิดในฤดูใบไม้ผลิ (Printemps) แล้วเริ่มเจริญเติบโตประมาณกลางเดือนสิงหาคม จนมาเริ่มโตได้ที่ในเดือนพฤศจิกายนไปจนถึงเดือนมีนาคม นั่นล่ะแก่จัดแล้ว พอมันเริ่มเจริญเติบโตก็จะส่งกลิ่นออกมา ยิ่งโตกลิ่นยิ่งแรง และถ้าโตเต็มที่ดอกเห็ดเริ่มส่งสปอร์ฟุ้งกระจายออกไปจนกลิ่นหอมทะลุขึ้นมาจากใต้ดิน ทีนี้พวกสัตว์ที่จมูกไวอย่างหมูหรือหมาก็ได้กลิ่นอันเย้ายวน ทำให้ต้องไปคุ้ยเขี่ยมากิน นี่เองคงเป็นวิธีขยายพันธ์ที่ธรรมชาติสร้างมาให้ โดยสัตว์ต่างๆ ทั้งหมู หมา แมลงจะเป็นผู้นำสปอร์ของเห็ดไปในบริเวณอื่นๆ คนฝรั่งเศสนั้นเวลาเข้าป่าไปเก็บเห็ดทรุฟฟ์ซึ่งเรียกว่า เลอ กาวาช (Le Cavage) พวกเขาจะใช้หมูหรือหมาดมตามกลิ่น พวกที่เก็บเห็ดนี้ฝรั่งเศสเรียกว่า เล การเวอณ์ (Les Caveurs) เขาจะหัดให้หมูหรือหมามีนิสัยตะกละ ชอบกินเห็ดทรุฟฟ์และมีความชำนาญพิเศษในการค้นหาเห็ดทรุฟฟ์ เมื่อได้กลิ่นก็จะปรี่เข้าไปคุ้ยเขี่ยคาบขึ้นมาทันที นอกจากนั้นบางคนก็มีเครื่องมือดมเป็นท่อปักลงไปในดินแล้วตรงปลายบานออกสำหรับเอาจมูกดมได้ การเก็บเห็ดชนิดนี้ควรเก็บในช่วงที่มันเจริญเติบโตเต็มที่จึงจะเอามาปรุงอาหาร

เมื่อมีคนเก็บเห็ดทรุฟฟ์ไปทำเป็นอาหารรสเลิศ ด้วยสรรพคุณของมันทำให้มีชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่วโลก ผู้คนต่างก็เข้าป่าไปตามล่าเจ้าเห็ดชนิดนี้ราวกับขุดทอง จนในที่สุด เห็ดมีปริมาณลดน้อยลงไม่เพียงพอต่อความต้องการ บรรดานักวิทยาศาสตร์จึงเริ่มทำการศึกษาวิจัย ค้นหาวิธีเพาะเลี้ยงเห็ดทรุฟฟ์ด้วยวีธีที่เรียกว่า ทรฟฟ์กุลตูร์ (Trufficulture)

Tuesday, September 19, 2006

จูบ (Le Baiser) ฝีมือของ Rodin อีกแล้ว!



Le couple enlacé du Baiser est apparu à l'origine entre un groupe de reliefs décorant le projet de porte monumentale de bronze dit Porte de l'Enfer du sculpteur français Auguste Rodin, pour un nouveau musée d'arts décoratifs à Paris. Le couple fut plus tard séparé de la porte, et remplacé par une paire d'amants dans la colonne inférieure droite. Les nombreuses figures que Rodin créa pour le projet furent un réservoir d'idées pour certaines de ses sculptures indépendantes, comme le Baiser ou Le Penseur.

La méthode utilisée par Rodin pour faire ses sculptures de grande taille consistait à employer des sculpteurs qui taillaient à l'échelle un modèle plus petit dans un matériau plus facile à tailler que le marbre et une fois terminées, Rodin donnait la dernière touche lui-même.

Avant de créer la version en marbre, Rodin a produit plusieurs sculptures plus petites en plâtre, terre cuite et bronze. L'œuvre fut d'abord appelée Francesca da Rimini, d'après le nom d'un des personnages de l'enfer dans la Divine Comédie de Dante, qui tomba amoureuse de son beau frère, Paolo Malatesta, lui aussi marié. Les amoureux furent surpris et assassinés par le mari de Francesca pendant qu'ils lisaient ensemble l'histoire de Lancelot et Guenièvre. Dans le Baiser on peut voir le livre dans la main de Paolo. Quand les critiques d'art virent la sculpture dans 1887, ils suggérèrent un titre moins spécifique que Francesca da Rimini et proposèrent le Baiser .

Sunday, September 17, 2006

ชายครุ่นคิด....Le Penseur

Rodin, Le penseur
Comme bon nombre d'œuvres d'art, le Penseur n'est pas devenu ce qu'il était censé devenir à sa réalisation : la partie centrale du Linteau de la Porte de l'Enfer, œuvre inachevée et inspirée de l'Enfer de Dante qui devait être une porte monumentale d'un musée d'art décoratif. Une œuvre qui aurait dû rassembler un riche ensemble de statues qui n'existeront jamais ensemble mais séparément (Fugit Amor, Le Baiser ou encore Francesca).
Le Penseur, débuté autour de 1880-1882 et qui était nommé par Rodin "Dante" ou le "Poète", devait donc être placé au dessus d'une série de condamnés sculptés en bas relief, en méditation sur leur sort, d'où la position de la statue. Un bref regard suffit à comprendre l'importance de cette méditation où le personnage semble être imperturbable et perdu dans les profondeurs de son âme.
Ce rapport à l'âme est ici l'essentiel du travail de Rodin. Pourtant pleine d'une force et d'une puissance retenue, mise en valeur par le travail de la musculature, la statue ne donne à la force physique que l'image de l'apparence extérieure. La véritable force existe davantage à travers l'évocation d'une puissance intérieure, comme l'expression des tourments de l'âme, des angoisses humaines.
La première exposition de l'œuvre en France en 1904 provoque le mépris ou l'amusement d'un partie du public et de la presse. En réaction est lancée une souscription pour couler la statue et une version définitive, plus grande, est offerte à la mairie de Paris en 1906: il s'agit de celle qui est aujourd'hui dans les jardins de l'hôtel Biron à Paris, à savoir le musée Rodin depuis 1919.

Thursday, September 14, 2006

ใครน้า.....แต่งเพลงชาติฝรั่งเศส?



เพลงชาติฝรั่งเศส ลา มาร์แซยแยส เกิดขึ้นเมื่อฝรั่งเศสประกาศสงครามกับออสเตรียและปรัสเซีย นายกเทศมนตรีเมืองสตราสบูรก์ (Strasbourg) ได้ขอให้โกลด-โชเซฟ รูเช เดอ ลิลล์ (Claude Joseph Rouget de Lisle) ผู้การกองทหารในกอลทัพลุ่มแม่น้ำไรน์แต่งเพลงมาร์ชสงครามให้หน่อย และในตอนดึกของวันที่ 25 เมษายน 1792 เขาก็ได้แต่งเพลงนี้ขึ้นมาโดยให้ชื่อว่า เพลงแห่งสงครามสำหรับกองทัพล่มแม่น้ำไรน์ (Chant de guerre pour l'Armée du Rhin) ต่อมาฟร็งซัว มีเรอร์ (François Mireur) ชาวเมืองมาร์แซยได้นำเพลงนี้มาพิมพ์แจกในชื่อ เพลงแห่งสงครามแด่กองทัพชายแดน (Chant de guerre aux armées des frontiers) ให้ทัพของกล่มอาสาสมัครร้องในขณะเดินทางมุ่งสู่พระราชวังตุยเลอรีในกรุงปารีของกษัตริย์ลุยที่ 16 เมื่อวันที่ 30 กรกฏาคม 1792 ซึ่งความจริงรูเช เดอ ลิลล์ เป็นคนที่อยู่ฝ่ายกษัตริย์ มีเรอร์จึงดัดแปลงเนื้อร้องบางตอน และเปลี่ยนชื่อเพลงเป็น ลา มาร์แซยแยส แต่เรื่องนี้มีผู้ให้ความเห็นว่า คำว่า ลา มาร์แซยแยสนั้น ซึ่งจะแปลว่าหญิงสาวชาวมาร์แซยก็ได้ หรือเป็นคำที่ละไว้ในฐานที่เข้าใจว่าเป็นเพลงที่พวกมาร์แซยร้อง ขณะเดินทัพเข้าสู่กรุงปารีก็ได้ อย่างไรก็ตามเพลง ลา มาร์แซยแยสถูกประกาศให้เป็นเพลงชาติฝรั่งเศสตั้งแต่วันที่ 14 กรกฏาคม 1795 และบางสมัยถูกแบนไปบ้าง โดยเฉพาะสมัยจักรวรรดิ จนถูกนำมาใช้ใหม่ในช่วงการปฎิวัติเดือนกรกฏาคม 1830 ซึ่งตอนนั้นก็มีการเรียบเรียงใหม่โดยเอ็กตอร์ แบร์ลิโอส (Hector Berlioz) และมีการประกาศให้เป็นเพลงชาติฝรั่งเศสอีกครั้งในปี 1879



Jour par Jour, Rouget de Lisle

1792
25 avril
Le chant de Rouget de Lisle
Dans le salon du baron de Dietrich, maire de la ville de Strasbourg, le jeune officier Joseph Rouget de Lisle présente son chant patriotique. D'abord baptisé "Chant de guerre pour l'Armée du Rhin", il est repris par les fédérés marseillais à leur entrée dans Paris en juillet 1792 et renommé "Marseillaise" par les Parisiens. Il sera décrété chant national en 1795 par la Convention et deviendra hymne national en 1879 lors de la IIIème République.

1792
30 juillet
Les Marseillais entrent à Paris en chantant
Les volontaires Marseillais de l'armée révolutionnaire entrent à Paris en chantant le "Chant de guerre pour l'armée du Rhin". La chanson, vite rebaptisée "Marseillaise", a été composée par l'officier Claude Joseph Rouget de Lisle quelques mois plus tôt. Son succès sera tel, qu'elle sera agréée par le ministère de la guerre et deviendra "chant national" en 1795. Elle sera proclamée hymne national de la République française en 1879.

1795
14 juillet
La Marseillaise chant national
Le décret du 26 messidor an III proposé par le député Debry déclare "La Marseillaise" hymne national français. D'abord appelé "Chant de guerre pour l'armée du Rhin", la chanson a été écrite dans la nuit du 25 au 26 avril 1792 par Rouget de Lisle, officier du génie en poste à Strasbourg. Interdite durant le premier et le second empire, elle sera définitivement proclamée "hymne national" en 1879.

1879
14 février
La Marseillaise, hymne national
La chambre des députés adopte "La Marseillaise" comme hymne national français. Composée pour l'armée du Rhin en 1792 par l'officier Claude Rouget de Lisle, l'air était déjà devenu "chant national" en 1795 (26 messidor an III), mais ce texte n'avait jamais été officialisé.


La Marseillaise (สั้นๆ)
Allons enfants de la Patrie,
Le jour de gloire est arrivé !
Contre nous de la tyrannie,
L'étendard sanglant est levé, (bis)
Entendez-vous dans nos campagnes
Mugir ces féroces soldats ?
Ils viennent jusque dans vos bras.
Égorger vos fils, vos compagnes !
Refrain :
Aux armes, citoyens,
Formez vos bataillons,
Marchons, marchons !
Qu'un sang impur
Abreuve nos sillons !

Monday, September 11, 2006

วันนี้มีเรื่องซึ้งๆ มาฝากจ้า....


.... นานมาแล้ว โลกเป็นเพียงวัตถุทรงกลมเรียบๆเปล่าๆ ไม่มีอะไรอยู่เลย
นอกจากน้ำแข็งก้อนใหญ่กับนาฬิกาทรายเรือนยักษ์
ที่มีปลายเปิดสามารถปล่อยทรายออกได้อย่างเดียว
น้ำแข็งกับนาฬิกาทรายเป็นเพื่อนเล่นกันมาตั้งแต่เล็ก
ร่วมทุกข์ร่วมสุขจนทั้งคู่เติบใหญ่เข้าสู่วัยหนุ่มสาว
ความงดงามของน้ำแข็งทำให้นาฬิกาทรายแอบชื่นชมหลงใหล
แต่ทุกครั้งที่พยายามแสดงความสนิทสนมใกล้ชิด
ความเย็นชาจากน้ำแข็งก็ทำให้นาฬิกาทรายต้องผิดหวังทุกทีไป
วันหนึ่งนาฬิกาทรายทะเลาะกับน้ำแข็งอย่างรุนแรงถึงขั้นแตกหัก
นาฬิกาทรายร้องไห้เสียใจหนีไปอยู่อีกซีกโลกหนึ่ง
เวลาผ่านไปปีแล้วปีเล่า............
นาฬิกาทรายกับน้ำแข็งก็ยังไม่คืนดีกันต่างคนต่างอยู่คนละซีกโลก
จนมาวันหนึ่ง เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทำให้โลกจะต้องแตกออกเป็นสองส่วน
น้ำแข็งรู้ดีว่าถ้าโลกแตกเป็นสองส่วนแล้วก็คงไม่ได้เจอกับนาฬิกาทรายตลอดกาล
แต่ด้วยทิฐิที่มีอยู่น้ำแข็งจึงเลือกที่จะอยู่นิ่งๆแทนที่จะออกตามหานาฬิกาทราย
ดวงจันทร์โคจรผ่านมาน้ำแข็งจึงถามว่าอีกซีกโลกเป็นอย่างไรบ้าง
ดวงจันทร์บอกว่านาฬิกาทรายกลับมาไม่ทันเพราะโลกกำลังจะแยก
จึงปล่อยทรายออกมาปกคลุมรอยแตกของโลกยึดไว้ไม่ให้แยกออกจากกัน
โดยหวังว่าจะได้กลับมาพบน้ำแข็งอีก ทันทีที่รู้น้ำแข็งก็รีบออกตามหานาฬิกาทราย
........แต่สายเกินไป ทรายกำลังจะหมดจากตัวนาฬิกาแล้ว
เมื่อน้ำแข็งมาถึงก็ได้ยินเพียงคำพูดสุดท้ายจากปากของนาฬิกาทราย
"ฉันรักเธอ"
ความเย็นชาที่มีในตัวน้ำแข็งหมดลงทันที
น้ำแข็งจึงเริ่มละลายในขณะที่ทรายเม็ดสุดท้ายร่วงลงสู่พื้นดิน
กลายเป็นน้ำทะเลที่อ่อนโยนคอยโอบอุ้มผืนทรายที่บริสุทธิ์ อยู่คู่กันมาจนทุกวันนี้....

Sunday, September 10, 2006

มองวงไหนแล้ววงนั้นจะหยุด (แปลกเนอะ!)


Friday, September 08, 2006

100 ภาษาบอกรัก (วันนี้มาหวานจัง)
Afrikaans - Ek het jou lief.
Albanian - Te dua.
Arabic - Ana behibak (to male)
Arabic - Ana behibek (to female)
Armenian - Yes kez sirumen
Bambara - M'bi fe.
Bangla - Aamee tuma ke bhalo aashi
Belarusian - Ya tabe kahayu.
Bisaya - Nahigugma ako kanimo.
Bulgarian - Obicham te.
Cambodian - Soro lahn nhee ah.
Cantonese Chinese - Ngo oiy ney a.
Catalan - T'estimo.
Cheyenne - Ne mohotatse.
Chichewa - Ndimakukonda.
Corsican - Ti tengu caru (to male).
Creol - Mi aime jou.
Croatian - Volim te.
Czech - Miluji te.
Danish - Jeg Elsker Dig.
Dutch - Ik hou van jou.
English - I love you.
Esperanto - Mi amas vin.
Estonian - Ma armastan sind.
Ethiopian - Afgreki'
Faroese - Eg elski teg
Farsi - Doset daram
Filipino - Mahal kita
Finnish - Mina rakastan sinua
French - Je t'aime, Je t'adore
Gaelic - Ta gra agam ort
Georgian - Mikvarhar
German - Ich liebe dich
Greek - S'agapo
Gujarati - Hoo thunay prem karoo choo
Hiligaynon - Palangga ko ikaw
Hawaiian - Aloha wau ia oi
Hebrew - Ani ohev otah (to female)
Hebrew - Ani ohev et otha (to male)
Hiligaynon - Guina higugma ko ikaw
Hindi - Hum Tumhe Pyar Karte hae
Hmong - Kuv hlub koj
Hopi - Nu' umi unangwa'ta
Hungarian - Szeretlek
Icelandic - Eg elska tig
Ilonggo - Palangga ko ikaw
Indonesian - Saya cinta padamu
Inuit - Negligevapse
Irish - Taim i' ngra leat
Italian - Ti amo
Japanese - Aishiteru
Kannada - Naanu ninna preetisuttene
Kapampangan - Kaluguran daka
Kiswahili - Nakupenda
Konkani - Tu magel moga cho
Korean - Sarang Heyo
Latin - Te amoLatvian - Es tevi miilu
Lebanese - Bahibak
Lithuanian - Tave myliu
Malay - Saya cintakan mu / Aku cinta padamu
Malayalam - Njan Ninne Premikunnu
Mandarin Chinese - Wo ai ni
Marathi - Me tula prem karto
Mohawk - Kanbhik
Moroccan - Ana moajaba bik
Nahuatl - Ni mits neki
Navaho - Ayor anosh'ni
Norwegian - Jeg Elsker Deg
Pandacan - Syota na kita!!
Pangasinan - Inaru Taka
Papiamento - Mi ta stimabo
Persian - Doo-set daaram
Pig Latin - Iay ovlay ouyay
Polish - Kocham Ciebie
Portuguese - Eu te amo
Romanian - Te ubesk
Russian - Ya tebya liubliu
Scot Gaelic - Tha gra\dh agam ort
Serbian - Volim te
Setswana - Ke a go rata
Sindhi - Maa tokhe pyar kendo ahyan
Sioux - Techihhila
Slovak - Lu`bim ta
Slovenian - Ljubim te
Spanish - Te quiero / Te amo
Swahili - Ninapenda wewe
Swedish - Jag alskar dig
Swiss-German - Ich lieb Di
Tagalog - Mahal kita
Taiwanese - Wa ga ei li
Tahitian - Ua Here Vau Ia Oe
Tamil - Nan unnai kathalikaraen
Telugu - Nenu ninnu premistunnanu
Thai - Chan rak khun (to male)
Thai - Phom rak khun (to female)
Turkish - Seni Seviyorum
Ukrainian - Ya tebe kahayu
Urdu - mai aap say pyaar karta hoo
Vietnamese - Anh ye^u em (to female)
Vietnamese - Em ye^u anh (to male)
Welsh - 'Rwy'n dy garu
Yiddish - Ikh hob dikh
Yoruba - Mo ni fe