.::Umo_Kislira::.

Hello! Everyone **Welcome to my blog!** I hope you like it and please post comment. Thanks for all.>_<

Wednesday, January 31, 2007

กลับมาอีกครั้ง! และก็ยังเป็นเรื่องราวของกะทิเหมือนเดิม
แต่คราวนี้เวอร์ชั่นภาษาฝรั่งเศส
เชิญชมเจ้าค่ะ.......

Le Bonheur de Kati............. de Jane Vejjajiva

Présentation de l'éditeur

Kati a toujours vécu avec ses grands-parents dans la maison au bord du canal. Une vie rythmée par l'école, les offrandes faites aux moines et les sourires contagieux de son ami Tong. Mais quelque chose - ou plutôt quelqu'un manque au bonheur de Kati : voilà des années qu'elle est sans nouvelles de sa maman. Alors quand elle apprend que celle-ci est gravement malade, Kati doit s'armer de courage. Elle part pour le plus bouleversant des voyages. L'historie magnifique d'une jeune Thaïlandaise qui trouve dans la beauté du monde la force d'être heureuse.

Biographie de l'auteur

Jane Vejjajiva est thaïlandaise. Elle naît en 1963 à Londres et grandit à Bangkok. Souffrant depuis la naissance d'un handicap moteur, elle trouve rapidement dans les livres une source de réconfort, en particulier quand ils permettent la découverte d'un monde imaginaire. Après des études de littérature française à l'université de Bangkok, elle intègre une école de traduction à Bruxelles. De retour dans son pays, elle travaille dans la presse avant de lancer elle-même un magazine pour enfants. Plus tard, elle devient traductrice et fonde une agence littéraire. Elle traduit en thaï les textes d'auteurs aussi célèbres et divers que Michel Tournier, J. K. Rowling ou Andreï Makine. En 1999, le ministère français de la Culture la nomme chevalier de l'ordre des Arts et des Lettres. Le Bonheur de Kati, son premier roman, connaît un vif succès en Thaïlande. Agnès Decourchelle naît en 1978 et passe son enfance un crayon à la main, à dessiner tout ce qu'elle voit. Après l'Ecole nationale supérieure des arts décoratifs de Paris, elle poursuit ses études au Royal College of Art de Londres. Aujourd'hui, elle enseigne en France dans des écoles d'art tout en travaillant régulièrement pour la presse anglaise.


ประกาศ : เสียงตามสายโรงเรียนราชินีบูรณะทุกวันพุธ
ข้าพเจ้าและเหล่าเพื่อนๆ 5/7 เป็นดีเจค่ะ (ฮุ ฮุ) อย่าลืมฟังกันนะ!


เพลง : Stickwithu
ร้อง : The Pussycat Dolls

Sunday, January 21, 2007


วันนี้ขอนำเสนอตัวอย่างของ ความสุขของกะทิ ทั้งแบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
(พิมพ์จนเหนื่อยทีเดียว แต่ก็สนุกดีนะ!)

The Happiness of Kati
ความสุขของกะทิ
Pan and Spatula
กระทะกับตะหลิว
Mother never promised to return.
แม่ไม่เคยสัญญาว่าจะกลับมา


The clatter of the spatula against the pan woke Kati that morning as it had every morning she could remember.
เสียงกระทะกับตะหลิวปลุกกะทิให้ตื่นขึ้นเหมือนวันก่อนๆ
The warm scent of freshly cooked rice also played a part, not to mention the smoke from the stove and the smell of crispy fried eggs.
ที่จริงแล้วกลิ่นหอมกรุ่นๆ ของข้าวสุกก็มีส่วนด้วย รวมทั้งกลิ่นควันจากเตาและกลิ่นไข่ทอด
But it was the sound of the spatula hitting the side of the pan that finally broke into Kati's slumber and roused her from her dreams.
แต่เสียงตะหลิวเคาะกระทะต่างหากที่ดึงกะทิให้พ้นจากภวังค์นิทราและภาพฝันสู่วันใหม่
Kati never took long to wash her face and get dressed, and Grandpa joked that she just waved at the washbasin as she raced past.
กะทิไม่เคยใช้เวลาล้างหน้าแต่งตัวนาน ตาล้อบ่อยๆ ว่าวิ่งผ่านนำเสร็จแล้วหรือ
Grandma turned to look at Kati when she came into the kitchen.
ยายหันมามองเมื่อกะทิเข้ามาในครัว
Grandma seldom smiled or greeted her.
ยายไม่เคยยิ้มตอบหรือทักทาย
Grandpa said Grandma's smiles were so rare they should be preserved and canned for export overseas, like top-quality produce.
ตาบอกว่ายิ้มของยายมีน้อย ต้องสงวนเอาไว้อัดกระป๋องส่งออกไปขายต่างประเทศ
Kati ladled rice into a silver bowl.
กะทิคดข้าวใส่ขัน
The white of the rice matched the freshness of the morning air as she cradled the rice bowl against her.
สีขาวๆ ของข้าวสวยเข้ากันดีกับอากาศสดชื่นยามเช้าแบบนี้
The warm steam seemed to rise and fill her chest and her heart, which began to beat faster and harder as she set off at a run for the pier.
ไออุ่นจากขันข้าวในอ้อมแขนแผ่ซ่านทั่วทั้งอกและใจที่รัวจังหวะกระชั้นขึ้นเมื่อกะทิออกวิ่งไปท่าน้ำ
Grandpa was already waiting there -- reading his newspaper, as always. A tray -- containing curry, vegetables, and fried fish, each dish in a small plastic bag -- was beside him.
ตานั่งอ่านหนังสือพิมพ์รออยู่แล้วกับถาดอาหารเหมือนเคย (ตัวเอียงๆ นี่ไม่มีในฉบับภาษาไทย เค้าเพิ่มเข้ามาบอกว่าในถาดมีอะไรบ้าง)
With the addition of Kati's steaming bowl of rice, their daily merit offering to the monks was complete.
(นี่ก็เพิ่มมาเหมือนกันบอกว่าของใส่บาตรพระพร้อมแล้ว)
Before long came the sound of oars slapping the water, and the bow of a boat appeared round the bend.
ไม่นานเสียงพายกระทบน้ำก็ดังขึ้น พร้อมกับที่หัวเรือพ้นคุ้งน้ำออกมาให้เห็น
The vermilion robes of the venerable abbot added a flash of color to the morning.
สีจีวรของหลวงลุงเพิ่มความสดใสให้บรรยากาศ
The abbot's pupil and nephew, Tong, flashed his teeth in a smile that could be seen from afar.
พี่ทองลูกศิษย์ยิงฟันขาวมาแต่ไกล
Grandpa said Tong should join an acting troupe and go into comedy theater, his smile was so contagious.
ตาบอกว่าพี่ทองน่าไปอยู่คณะตลกชวนยิ้ม ยิ้มของพี่ทองเหมือนโรคติดต่อ
Tong's smiles came straight from his cheerful heart, made for his lips and glistening eyes, and sent out ripples like a stone dropped in a pool, so that people around him were affected too.
ยิ้มที่ส่งมาจากหัวใจระรื่น ต่อสายตรงถึงปากและแววตา แผ่รัศมีเป็นคลื่นรอบๆ เหมือนเวลาโยนก้อนหินลง
ในน้ำ จนคนรอบข้างรู้สึกได้
Under the big banyan tree, Grandpa poured water from a little brass vessel onto the ground, completing the offering to the monks.
ตากรวดน้ำใต้ต้นโพใหญ่
Like a river flowing from the mountains to the sea, the water symbolized the merit they had earned and passed on to departed loved ones.
(อธิบายอีกแล้ว ประมาณว่าการกรวดน้ำเหมือนกับแม่น้ำที่ไหลจากภูเขาสู่ทะเล น้ำเป็นสัญลักษณ์ของความดีที่พวกเขาได้รับ)
Kati joined her prayers to Grandpa's and prayed silently that her own wishes would be granted.
กะทิอนุโมทนาบุญกับตา และอธิษฐานอยู่ในใจ
Breakfast was waiting for them at home. They had a big meal like this every morning.
สำรับกับข้าวรออยู่แล้ว มื้อใหญ่แบบนี้ทุกเช้า
Grandpa took the boiled vegetables with the pungent chili sauce, leaving the stir-fried vegetables and fried fish almost entirely to Kati.
ตาจะยึดผักต้มกับน้ำพริกเป็นหลัก ผัดผักกับปลาทอดเป็นของกะทิเกือบคนเดียว
Grandpa avoided fried foods of all kinds.
ตาเลี่ยงของทอดน้ำมันทุกชนิด
He complained behind Grandma's back that eating Grandma's cooking was like eating everything coated in varnish, and that one day he would donate Grandma's pan and spatula to the army to melt down for a cannon for King and Country.
ตาบ่นลับหลังยายว่า อาหารของยายเหมือนทาเชลแล็ก สักวันจะเอากระทะกับตะหลิวของยายไปบริจาคกองทัพหลอมทำปืนใหญ่กู้ชาติ
If Grandma heard him, she'd make such a racket with her spatula and pan that it was a miracle they were still able to do their duty afterward.
ถ้ายายได้ยินก็จะปึงปัง และวันนั้นเสียงตะหลิวเคาะกระทะของยายก็จะดังสั่นสะท้านสะเทือนและถี่กระแทก จนน่าแปลกใจที่กระทะยังอยู่ดีและทำหน้าที่เช่นเดิมได้ในวันต่อมา

Saturday, January 20, 2007

The happiness of Kati...........

The Happiness of Kati (Kwam Suk Kong Kati)

The winner of this year S.E.A. (South East Asian) Write award, Thailand's most prestigious literary honor, was announced on August the 31st, 2006. Selected from 64 submissions of novel works, the 10 finalists has been judged by the committee and it's definitely a difficult task to finally present the award to "The Happiness of Kati," a short novel written by a veteran translator Ngarmphan "Jane" Vejjajiva, which also won an award from England and was selected by the Junior Library Guild (USA) to be added in their prestigious "reading list" to recommend to the states-wide librarians.

The Happiness of Kati tells a story of a nine-year-old girl named "Kati" who stays with her grandparents in a friendly neighborhood faraway from a hectic and busy city life. Kati is a clever and optimistic girl who contends with all aspects of her life except for one thing - she could hardly remember her mother who left her with her grandparents since she was only 4 years old. She always wonder why her mother left her and why haven't she ever seen her father. Chapters by chapters, the story reveals itself like the peeling of an onion layers by layers as we follow Kati through her unforgettable journey from the old fashioned house by the canal to a bungalow by the sea and an apartment in the big city. The readers would smile, laugh and cry along with Kati as the truth about her family emerges.


ความสุขของกะทิที่ตีพิมพ์ในสหรัฐอเมริกา

Nine-year-old Kati has always lived with her grandparents in the house by the river. Every day she goes to school, brings offerings to the monks, and plays with Tong, the abbot's nephew. She is happy enough, but something -- someone -- is missing.
Kati has not seen her mother for nearly five years, and no one will tell her where she is, until the day she receives some shocking news from Grandmother: Her mother is very ill with Lou Gehrig's disease and has suffered from it for many years. Would Kati like to go see her?
And so Kati travels to the house by the sea to spend the last weeks of her mother's life with her. There she learns the reason why her mother gave her up and also finds that she has a decision...to meet the father she's never known.
A singular story of love, hope, and renewal, set against the lushly exotic background of Thailand, The Happiness of Kati is a profoundly touching novel that reminds us of how very brave, and very wise, children can be.
P.S. There has already been a sequel of "The Happiness of Kati" under the title "Finding the Moon" and the third installment of "Kati" series will be published soon

วันนี้มีหนังสือดีๆ ที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน
(ซีไรต์) ของประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2549 มาให้ชมกัน
เขียนโดยคุณงามพรรณ เวชชาชีวะ
(พี่สาวของคุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์) เรื่อง ความสุขของกะทิ
เรื่องนี้ได้รับการแปลแล้ว 5 ภาษา 6 สำนวนแปล
คือ อังกฤษ (ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา) ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เยอรมัน
และคาตาโลเนีย (แหม น่าภูมิใจ๊ ภูมิใจเนอะ! )

หน้าปกหนังสือเรื่อง ความสุขของกะทิฉบับปัจจุบัน

ความสุขของกะทิ เล่าเรื่องราวของกะทิ เด็กหญิงวัย 9 ขวบที่กำลังจะต้องสูญเสียแม่ ซึ่งป่วยเป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ผู้เขียน เล่าเรื่องราวของกะทิอย่างเรียบง่าย เนรมิตบ้านริมคลองให้เป็นบ้านในฝัน ที่อบอวลด้วยบรรยากาศอันรื่นรมย์ของอดีต ฉายรายละเอียดสิ่งละอันพันละน้อย ของวิถีชีวิตที่สุขสงบของครอบครัวชนชั้นกลางระดับสูงให้ผู้อ่านประทับใจ

กะทิมีครอบครัวที่เอาใจใส่ ดูแลกะทิด้วยความรัก และความห่วงใยจากใจจริง เธอมีคุณตาที่เคยเป็นทนาย ซึ่งสามารถเรียกเสียงหัวเราะจากกะทิและครอบครัวได้อยู่เสมอๆ คุณยายของกะทิเป็นคนที่เคร่งครัด และหัวโบราณ แต่ถึงกระนั้นก็สอนกะทิเรื่องต่างๆนาๆ อะทิเช่น การทำอาหาร การอยู่ในสังคม เป็นต้น พี่ทองเป็นคนที่เข้าอกเข้าใจกะทิเป็นอย่างดี และเป็นคนที่มีบุญคุณต่อกะทิ เพราะว่าพี่ทองเคยช่วยชีวิตกะทิไว้ตอนกะทิเป็นเด็กเล็ก น้าฏา และน้ากันต์ซึ่งเป็นคนที่ห่วงใยกะทิ และคอยหาสิ่งดีๆให้กะทิอยู่เสมอๆ และเป็นคนที่พูดปลอบใจกะทิในยามที่กะทิเศร้าโศรกเสียใจ และที่ขาดไม่ได้ก็คือ แม่ของกะทิ ที่ถึงแม้จะจากไปก่อนวัยอันควรแต่ก็จัดสิ่งต่างๆไว้ให้กะทิอย่างดิบดี ด้วยความรัก และเอาใจใส่จากใจ

แต่ในความสุขมีความเศร้า ในวิถีชีวิตที่สุขสงบนี้ กะทิต้องเผชิญประสบการณ์ทางอารมณ์ที่ต้องสูญเสียแม่ และในความเศร้านั้นก็มีความสุข กะทิไม่คิดจะโหยหาถึงพ่อที่อยู่ไกลโพ้นต่างแดน หากเลือกอยู่ในอ้อมกอดของตากับยาย และผ่านชีวิตอันควรจะทุกข์นั้นด้วยใจที่เข้มแข็ง

เสน่ห์ของนวนิยายขนาดสั้นเรื่องนี้อยู่ที่กลวิธีการเล่าเรื่อง ที่ค่อยๆ เผยปมปัญหาทีละน้อย ๆ อารมณ์สะเทือนใจจะค่อยๆ พัฒนาและดิ่งลึกในห้วงนึกคิดของผู้อ่าน นำพาให้ผู้อ่านอิ่มเอมกับรสแห่งความโศกอันเกษม ที่ได้สัมผัสประสบการณ์ทางอารมณ์ของชีวิตเล็กๆ ในโลกเล็กๆ ของเพื่อนมนุษย์คนหนึ่ง ซึ่งอาจไม่ไกลจากชีวิตจริงของเราเลย

ปัจจุบัน ผู้เขียนได้ตีพิมพ์หนังสือภาคต่อของ ความสุขของกะทิ ชื่อว่า ความสุขของกะทิ ตอน ตามหาพระจันทร์


หน้าปกหนังสือเรื่อง ความสุขของกะทิแบบเก่า

ในตอนเริ่มต้นนั้นหนังสือจะเล่าถึงชีวิตที่เรียบง่ายของเด็กสาวคนหนึ่งซึ่งอยู่กับตายายในชนบทแบบไทยซึ่งอบอุ่น ช่วยเหลือเกื้อกูลและเป็นกันเอง ในช่วงนี้ของเรื่องนั้นน่าจะทำให้ผู้อ่านหลายๆท่านรู้สึกได้ถึงความอบอุ่น ความสุขที่เกิดจากการอ่านได้ แต่ก็สอดแทรกด้วยอารมณ์ความคิดถึงแม่ของเด็กน้อยซึ่งได้หนีจากไปด้วยเหตุทีไม่อาจทราบได้

เมื่อถึงตอนกลางของเรื่อง ในที่สุดยายของเธอก็ตัดสินใจพาเธอไปหาแม่ จากชนบทผ่านเมืองใหญ่และในที่สุดก็ถึงบ้านไม้สีขาวหน้าต่างสีฟ้าริมทะเลหัวหิน ซึ่งความปราถนาของเด็กน้อยก็เป็นจริงเมื่อเธอได้พบกับแม่ แต่เวลาของแม่นั้นกำลังจะหมดลงแล้ว เด็กน้อยพยายามใช้เวลาที่ว่านั้นให้คุ้มค่า ซึ่งถ้าจะให้เทียบตอนนี้กับจังหวะดนตรีก็คงเป็นจังหวะที่เร็วและถี่มากต่างจากช่วงต้นและท้ายของเรื่อง

…และในที่สุดเวลาก็หมดลง เด็กน้อยที่ผู้ใหญ่เกรงว่าจะมิอาจต้านความเจ็บปวดได้ ก็กลับมีความแข็งแกร่งที่น่าประทับใจ นี้อาจเป็นเพราะตัวเธอได้รับความรักที่ดีจนทำให้ยืนหยัดสู้ปัญหานี้

เมื่อถึงช่วงท้ายของเรื่อง แม่ของเธอได้ฝากให้เพื่อนทั้งสามคนช่วยนำพาเธอไปรู้จักกับชีวิตของแม่ ตั้งแต่เกิด เรียน แต่งงาน และมีลูก แม่ของเธอยังได้ทิ้งทางเลือกให้เธอตัดสินใจอย่างหนึ่ง …เป็นทางเลือกที่อาจเปลี่ยนชีวิตของเธอ ซึ่งเธอได้เลือกทางและวิธีที่แยบคายอย่างมาก เธอไม่ได้บอกเหตุผลว่าทำไม แต่การตัดสินใจของเธอนั้นดูเป็นการบอกพวกเราได้อย่างดีว่าความสุขนั้นอาจไม่ได้อยู่ห่างไกลอย่างที่เราคิด แต่กลับอยู่ใกล้ตัวเรา และห่างไปแค่ไม่กี่เมตรเท่านั้น

จักรวาลนี้กว้างใหญ่นัก มนุษย์ตัวจ้อยจะมีอำนาจอะไร เพียงแหงนมองฟ้าก็ดูจะปลดศักดาและความมุ่งหวังเกินตัวให้หมดสิ้นได้ในบัดดล เหลือเพียงหัวใจดวงเล็กๆ ในอกที่เต้นอย่างเจียมเนื้อเจียมตัวและใฝ่หาความสุขตามอัตภาพ ไม่ต้องการสิ่งใดที่เป็นไปไม่ได้ ไม่ต้องการสิ่งใดที่อยู่ไกลตัว -- งามพรรณ เวชชาชีวะ, ความสุขของกะทิ

........................................

Friday, January 05, 2007

oooooooOOOOO! โอ้วววววว มาย ก็อด!
โพสล่าสุดเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2006 หายไปตั้งนานแน่ะ
แต่ไม่เป็นไร ปี 2007 ของเรามาพร้อมกับหนังสือสุดพิเศษ อันมีชื่อว่า.........
“นักประดาน้ำกับผีเสื้อ เอื้อ...เอื้อ....เอื้อ.......(เสียงสะท้อน)
หรือ “Le Scaphandre et le Papillon”
เขียนโดยอดีตบรรณาธิการนิตยสาร Elle ของฝรั่งเศส
นั่นก็คือ Jean-Dominique Bauby
เขาป่วยเป็นอัมพาต แต่สามารถเขียนหนังสือดังกล่าวด้วยวิธี “ขยิบตา”
โดยตกลงกับผู้ช่วยของเขาว่า ขยิบตากี่ครั้งคือตัวอักษรใด !!!
**...................................**
On est attiré ou repoussé par la même chose : le témoignage exceptionnel d'un homme qui a littéralement vécu l'indicible, frappé d'une maladie aussi foudroyante et terrifiante que rare : le « locked-in syndrome ».
Rédacteur en chef dans la force de l'âge du magazine Elle, Jean-Dominique Bauby, suite à un accident cardio-vasculaire, s'est retrouvé totalement paralysé, incapable de s'alimenter ou de respirer par lui-même, avec pour seul mode de communication le battement de sa paupière gauche - « le hublot » de son « scaphandre » -, mais en pleine possession de ses facultés intellectuelles.
La valeur de ce livre, qui a figuré en tête des ouvrages les plus vendus en France en 1997, dépasse de loin la performance technique qui l'a rendu possible ; chaque chapitre, appris par cœur par l'auteur, ayant été dicté lettre par lettre, suivant un code, à l'aide du battement de sa paupière. Car le récit de cette expérience-limite a donné naissance à une œuvre véritable et permis la rencontre avec un homme réduit (élevé ?) à l'essentiel.
Très vite, le lecteur est disculpé à ses yeux de tout soupçon de voyeurisme grâce à la pudeur et à l'humour tonique de l'auteur, qui fait plus que jamais figure de « politesse du désespoir ». Il est porté par le plaisir littéraire d'un texte juste, drôle et bouleversant ; il est séduit, touché par un homme plein d'esprit, définitivement curieux des autres et de la vie, qui passe avec dignité l'épreuve de vérité d'une conscience confrontée à elle-même.
Au cœur de courts chapitres, sortes de camées finement ciselés, sobrement intitulés « le fauteuil » pour aborder le moment où l'auteur découvrit « l'ampleur des dégâts », « le saucisson » pour évoquer le secours puissant de l'imagination et de la mémoire - « réservoir de sensations » - pour un amateur de bonne chère condamné à être nourri artificiellement, Jean-Dominique Bauby touche l'essence même de notre condition, exacerbe sa dérisoire fragilité mais aussi sa paradoxale toute-puissance.
Privé de tout, cet homme existe intensément à travers ces pages. Il nous rappelle les fils invisibles qui nous rattachent à la vie : « les photos des êtres chers », « les dessins d'enfants », les vers de poésie que l'on porte en soi, l'émotion face aux beautés du monde comme « cette clarté laiteuse du petit matin » qu'il aperçoit de son lit. Et « qu'autant que de respirer [nous avons] besoin d'être ému, d'aimer et d'admirer ».
Car, comme souvent, ce sont ceux qui en sont privés qui apprécient le mieux la valeur des choses - liberté, santé, amour, travail. Mais l'auteur est loin d'être dénué du principal peut-être, la capacité de sentir et d'exprimer, de tirer, en bon journaliste, des « carnets de voyage immobile » de cette expérience, de sortir de lui-même pour confier sans esbroufe sa révolte, son désarroi et ses interrogations, ou pour se mettre à la place des autres, dont il devine « le trac » et « l'effroi » au moment où ils franchissent la porte de sa chambre.
Chaque esprit (« le papillon ») détient une part unique du monde, et Jean-Dominique Bauby, qui s'inquiétait de savoir dans son dernier chapitre si tout cela faisait un livre, a su, en dépit de tout, communiquer la sienne.

เร็วๆนี้จะโพสหน้าปกหนังสือ และจะพยายามอาจเรื่องนี้ให้จบจงได้........โปรดติดตาม